มาจากเพจครูแม่ส้ม
3. Psychical stimuli (psychical occurrences in the environment are perceived be the unconscious) หัวข้อนี้ค่อนข้างซับซ้อน เป็นปรากฏการณ์ที่จิตไร้สำน ึกถูกกระตุ้นด้วยสัญญาณบางอ ย่าง ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมทั้งสถ านที่ และสิ่งแวดล้อมของจิต เขายกตัวอย่างเช่น มีแขกมานอนค้างคืนที่บ้าน แล้วแขกคนนี้ก็ฝันถึงเรื่อง ราวปมปัญหาของคนในบ้านหลังน ั้น ทั้งๆที่ไม่รู้จักกันมาก่อน ยุงอธิบายถึงพลังงานบางอย่า ง(ปมปัญหา)ที่ฟุ้งกระจายออก ไปในสิ่งแวดล้อมโดยที่เจ้าตัวไม่รู้ตัว .. เขาเรียกข้อมูลประเภทนี้ว่า เป็นข้อมูลที่ลักลอบเข้ามาใ นความฝัน
[แปล: มันเป็นเรื่องที่เราไม่น่าจ ะไปรับรู้ แต่เราก็รับรู้มันจนได้ ราวกับว่าจมูกของเรายื่นทะลุกำแพงเข้าไป และสูดดมข้อมูลที่ล่องลอยอยู่ในบรรยากาศโดยที่เราไม่ได้เจตนาเลย]
[แปล: มันเป็นเรื่องที่เราไม่น่าจ
4. Past events : อดีตในที่นี้ไม่ใช่เพียงแค่ เรื่องที่ผ่านไปเมื่อเช้า เมื่อวาน หรือปีที่แล้ว แต่หมายถึงร่องรอยความทรงจำ ทั้งที่จำได้ ลืมไปแล้วแต่รู้ว่าลืม และลืมไปและไม่รู้ว่าลืม (ยุงเรียกว่าเป็นข้อมูลที่ข าดการติดต่อกับจิตสำนึก) รวมไปถึงอดีตที่เป็นผลพวงจากการพิมพ์ซ้ ำของแบบแผนทางจิตที่เป็นสาก ล (collective psyche) .. มีตัวอย่างการฝันว่าละเมอพู ดภาษาแปลกๆที่เจ้าตัวไม่รู้ จัก แต่บังเอิญว่าคนที่ได้ยินรู้ว่าคนที่กำลังนอนละเมอนั้น พูดภาษาอะไร
เคยอ่านเจอบทสัมภาษณ์หนึ่งข องปู่ยุง(นานแล้วหาต้นตอไม่ เจอ) บอกว่าการศึกษาวิทยาการ(ใ นยุคของแก) นักวิชาการให้คุณค่ากับจิตสำนึกมากไปโดยถือว่า จิตสำนึก(conscious) เป็นเรื่องที่มีสาระ (make sense) และไม่ค่อยให้คุณค่ากับจิตไร้สำ นึก (unconscious) เพราะจิตไร้สำนึกทำงานอย่างคลุมเครือ ทำให้นักวิชาการมองข้ามเรื่ องจิตไร้สำนึกไปและมองว่าเป ็นเรื่องไร้สาระ (nonsense) .. แต่กระนั้นคาร์ลยุงก็มุ่งมั่นค้นคว้าและศึกษาเรื่อง"เห นือสาระ"ของแกต่อไป
ในวงกลมหยินหยาง (อันที่จริง ต้องเรียกว่าวงกลมไท่จี๋..ป ล.ไท่จี๋ไม่ได้แปลว่ามวยจีน แต่เป็นปรัชญาการใช้ชีวิต) ในสีขาวและสีดำของวงจรหยินห ยางนั้น เป็นธรรมชาติแห่งทวิภาวะ หรือกฏของสิ่งคู่ตรงข้าม ซึ่งเป็นข้อหนึ่งของกฏธรรมช าติ แต่กฏของสิ่งคู่ตรงข้ามดำเนินคู่ไปกับกฏอีกกฏหนึ่ งคือกฏแห่งความเปลี่ยนแปลงห รือการหมุนเวียนแทนที่ ดังนั้น หยิน(ส่วนสีดำ)ก็จะแปรเปลี่ ยนมาเป็นหยาง(ส่วนสีขาว)เมื่อ ถึงเวลาที่เหมาะสม ดังเช่น กลางคืนและกลางวัน ..
ด้วยกฏธรรมชาตินี้ คาร์ลยุงกล่าวว่า ที่เขาพูดว่า ลูกตุ้ม(เพนดูลัม)ของจิต แกว่งไปมาระหว่างขั้วสองข้า งตลอดเวลา (เหมือนลูกตุ้มนาฬิกาที่มีช ีวิต) ด้านหนึ่งคือ จิตสำนึก อีกด้านคือ จิตไร้สำนึก ไม่ว่าเราจะสำเหนียกรู้ตัวห รือไม่ก็ตาม ลูกตุ้มชีวิตนี้ก็แกว่งของม ันไปอย่างนี้แหละ และสองขั้วนี้ก็ไม่ได้เกี่ย วกับว่าเรื่องผิดถูก ชั่วดี ควรไม่ควร ...
คาร์ลยุงให้แง่คิดในการมองเ รื่อง"บาปและความชั่วร้าย"แ ตกต่างไปจากความเชื่อทางศาส นา เขามองว่าจิตใจที่มีสุขภาพส มบูรณ์ คือการเผยออกอย่างสมดุลของทั้งจิตสำนึกและจิตไร้สำนึก .....
(เรื่องนี้อธิบายต่อได้ว่า ทำไมดร.สโตนจึงสานต่อเป็นวิ ชาว๊อยซ์ไดอะล็อก ที่ให้กลับมาตระหนักถึงความ สมดุลของตัวตนสองด้าน.. Voice Dailogue : The Psychology of Selves )
ด้วยกฏธรรมชาตินี้ คาร์ลยุงกล่าวว่า ที่เขาพูดว่า ลูกตุ้ม(เพนดูลัม)ของจิต แกว่งไปมาระหว่างขั้วสองข้า
คาร์ลยุงให้แง่คิดในการมองเ
(เรื่องนี้อธิบายต่อได้ว่า ทำไมดร.สโตนจึงสานต่อเป็นวิ
.................................................
ตามไปคุยกันต่อได้ที่เพจนี้นะ
ถอดรหัสภาพ ไพ่ บทกวี และความฝัน : Decoding Symbols in Arts, Dream and Tarot
1. Somatic sources : คือปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความเจ็บป่วย การนอนในท่านอนที่ผิดปกติ เช่นนอนทับแขน หรือตกหมอน หรืออาหารไม่ย่อย ฯลฯ อันนี้ก็ตรงกับที่เราเรียกว